|
1.ย้ายจากนี้วอื่นมาแทน เช่น ผู้ป่วยนิ้วอื่นขาดร่วมด้วย หรือมีนิ้วเกินอยู่ แล้วมาต่อแทนนิ้วหัวแม่มือ 2.ต่อกระดูกโคนนิ้วให้ยาวขึ้น แล้วเอาส่วนของผิวหนัง เล็บ หลอดเลือด เส้นประสาทจากนิ้วหัวแม่เท้ามาต่อหุ้มกระดูกอีกครั้ง 3.ย้ายนิ้วที่ 2 ของเท้ามาต่อแทนที่นิ้วมือ |
1.ผู้ป่วยชายไทย อายุ 22 ปี |
2.นิ้วหัวแม่มือ นิ้วนาง นิ้วก้อย |
3.ส่วนปลายของนิ้วนาง นิ้วกลาง ยังไม่ช้ำมาก |
4.หลังผ่าตัด ต่อนิ้วนางแทนนิ้วหัวแม่มือ |
5.หลังผ่าตัด นิ้วติดดี |
6.ผู้ป่วยเริ่มฝึกใช้นิ้วหัวแม่มือที่สร้างขึ้นมาใหม่ |
-------ข้อดี | -------ข้อเสีย |
1.จะช่วยเพิ่มสมรรถภาพการทำงานของมือให้ดีขึ้น
2.สามารถตัดส่วนที่ช้ำมากของนิ้วอื่นออกไปได้ --เอาส่วนที่ดีมาต่อแทนนิ้วหัวแม่มือ --โดยยังรักษาความยาวของนิ้วหัวแม่มือได้ใกล้เคียงปกติ |
1.ขนาดของนิ้วอื่นจะเล็กกว่านิ้วหัวแม่มือ
รูปร่างนิ้วไม่สวย
2.การผ่าตัดยากขึ้น |
1.ผู้ป่วยหญิงไทยโสด อายุ 17 ปี |
2.ผ่าตัดต่อกระดูกปลายนิ้วหัวแม่มือให้ยาวขึ้น |
3.เตรียมหลอดเลือด เส้นประสาท |
4.ส่วนของนิ้วเท้าที่ตัดออกมาแล้ว |
5.หลังผ่าตัดต่อหลอดเลือดแดง |
6.หลังผ่าตัด 6 เดือน |
|
8.เท้าหลังผ่าตัด ไม่เสียนิ้วเท้าไปทั้งนิ้ว |
1.ผู้ป่วยชายไทย อายุ 28 ปี |
2.การผ่าตัดเตรียมนิ้วที่ 2 ของเท้าด้านขวา |
3.ย้ายนิ้วที่สองของเท้ามาต่อที่โคนนิ้วหัวแม่มือ |
4.หลังผ่าตัดนิ้วหัวแม่มือที่สร้างขึ้นมาใหม่ |
5.เท้าขวา หลังจากเย็บแผลปิด |
6.ผู้ป่วยสามารถเขียนหนังสือได้ |
|
-------ข้อดี | -------ข้อเสีย |
1.ใช้ในผู้ป่วยที่นิ้วหัวแม่มือขาดระดับโคนนิ้ว
2.ใช้ในเด็ก นิ้วที่สร้างยังเจริญต่อไปได้อีก |
1.ผู้ป่วยสูญเสียนิ้วเท้า
เพื่อนำไปสร้างนิ้วหัวแม่มือ
2.การผ่าตัดใช้เวลานานต้องใช้แพทย์ที่มี --ความชำนาญด้าน Micro Surgery. |